พระพุทธศาสนามีสาระที่เป็นประโยชน์ มีความสำคัญทั้งในด้านทฤษฎีที่เป็นเหตุเป็นผล และวิธีการที่เป็นสากล เหมาะสมกับทุกยุคทุกสมัย รวมทั้งมีข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง พุทธศาสนิกชนพึงวิเคราะห์และตระหนักในคุณค่าของทฤษฎีวิธีการและหลักปฏิบัติเหล่านั้นน้อมนำมาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับการดำเนินชีวิต เพื่อความสงบสุขและความเจริญของตนเองและสังคม อ่านเพิ่มเติม
วันพุธที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2558
บทที่ 2 พุทธประวัติและชาดก
1.1 หลักการสอนของพระพุทธเจ้า
พระพุทธเจ้าเมื่อจะทรงสอนใครแต่ละครั้ง พระองค์ก็ทรงอาศัยองค์ประกอบหลายๆอย่าง ในการสอนบุคคลระดับต่างๆ ที่มีพื้นฐานความรู้ สติปัญญาที่แตกต่างกัน พระองค์ได้ประยุกต์คำสอนแต่ละลักษณะให้มีความเหมาะสม เป็นการสอนที่แสดงถึงพุทธลีลาของพระองค์ อ่านเพิ่มเติม
พระพุทธเจ้าเมื่อจะทรงสอนใครแต่ละครั้ง พระองค์ก็ทรงอาศัยองค์ประกอบหลายๆอย่าง ในการสอนบุคคลระดับต่างๆ ที่มีพื้นฐานความรู้ สติปัญญาที่แตกต่างกัน พระองค์ได้ประยุกต์คำสอนแต่ละลักษณะให้มีความเหมาะสม เป็นการสอนที่แสดงถึงพุทธลีลาของพระองค์ อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 3 วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธี
วันมาฆบูชา : ไม่ทำชั่ว ทำแต่ความดี ทำจิตใจให้ผ่องใส
วันมาฆบูชาเป็นวันที่พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประทานพระโอวาทสำคัญอันถือได้ว่าเป็นหัวใจของคำสอนในพระพุทธศาสนา คือ โอวาทปาฏิโมกข์ ในวันเพ็ญ (ขึ้น ๑๕ ค่ำ) เดือนสาม ดวงจันทร์โคจรมาเสวยมาฆฤกษ์ แต่ถ้าปีใดมี อธิกมาส คือ เดือนแปดสองแปด วันมาฆบูชาก็จะเลื่อนไปเป็นวันเพ็ญกลางเดือนสี่ อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 4 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
สังฆคุณ 9
พระสงฆ์ เป็นส่วนหนึ่งของพระรัตนตรัย หมายถึง ผู้ปฏิบัติตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า แล้วสอนให้ผู้อื่นรู้และปฏิบัติตามผู้ที่จะเป็นพระสงฆ์ได้จะต้องผ่านการบวชโดยวิธีหนึ่งใน 3 วิธี อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 5 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต
พระไตรปิฎก : โครงสร้าง ชื่อคัมภีร์และสาระสังเขปของพระสุตตันตปิฎก
ชื่อคัมภีร์และสาระสังเขปของพระสุตตันปิฎก
พระสูตร หรือที่เรียกในทางวิชาการว่า พระสุตตันปิฎก เป็น 1 ใน 3 ปิฎก มีลักษณะที่แตกต่างออกไปจากพระวินัยปิฎกและพระอภิธรรมปิฎก คือ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาที่มี บุคคล เหตุการณ์และสถานที่เข้ามาประกอบที่เรียกว่า บุคลาธิษฐาน อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 6 การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิต หมาย ถึง การบำรุงรักษาจิตให้เข้มแข็งผ่องใสบริสุทธิ์ ซึ่งต่างกับการบริหารกาย เพราะการบริหารกายต้องทำให้ร่างกายเคลื่อนไหวอยู่เสมอแต่การบริหารจิต จะต้องฝึกฝนให้จิตสงบนิ่งอยู่กับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งการฝึกจิตให้สงบ คือการทำสมาธินั่นเอง อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 7 พุทธสาวก พุทธสาวิกา และศาสนิกชนตัวอย่าง
ประวัติของพุทธสาวก พุทธสาวิกา และชาวพุทธตัวอย่างดังต่อไปนี้
1. พระนางมัลลิกา
2. พระอัสสชิ
3. หมอชีวกโกมารภัจจ์
4. พระกีสาโคตมี อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)